5 TIPS ABOUT เนื้อสัตว์ที่เพาะเลี้ยงจากห้องแล็บ YOU CAN USE TODAY

5 Tips about เนื้อสัตว์ที่เพาะเลี้ยงจากห้องแล็บ You Can Use Today

5 Tips about เนื้อสัตว์ที่เพาะเลี้ยงจากห้องแล็บ You Can Use Today

Blog Article

ข่าวสารและสาระความรู้ ข่าวสารและความเคลื่อนไหว

ในปัจจุบันยังไม่อาจพูดได้ว่า นวัตกรรมทางอาหารนี้กำลังจะมาแทนที่เนื้อสัตว์จริง ๆ ได้ 

เนื้อจากห้องแล็บ: อาหารแห่งอนาคต อร่อยน้ำลายสอ แถมเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

วิธีการรวมเซลล์ไขมันที่เลี้ยงด้วยสารยึดเกาะนี้ สามารถพัฒนาเป็นการผลิตเนื้อเยื่อไขมันเพาะเลี้ยงในปริมาณมาก หากการทดลองนี้เป็นไปตามที่คาดการณ์ไว้ ความสำเร็จในครั้งนี้จะกลายเป็นหัวใจสำคัญในการพัฒนาเนื้อสัตว์เทียมให้มีรสชาติใกล้เคียงเนื้อสัตว์ธรรมชาติมากขึ้น ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ยังคงพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเนื้อสัตว์เพาะเลี้ยงเพื่อนำไปสู่การผลิตเนื้อสัตว์เทียมที่มีรูปลักษณ์ รสชาติ และสัมผัสเหมือนของจริง โดยจะมีบทบาทสำคัญในฐานะอาหารสุขภาพเพื่อเป็นทางเลือกแก่ผู้บริโภคได้ในอนาคต

และเหนืออื่นใดหลักการเนื้อสัตว์ทดแทนคือ ต่อไปจะต้องหาซื้อได้ง่าย ราคาเอื้อมถึง รสชาติเหมือนเนื้อสัตว์จริงๆ และอาจมีบทบาทในฐานะอาหารสุขภาพในอนาคตได้ 

โครงการพัฒนาเศรษฐกิจหมุนเวียน โครงการพัฒนาระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน

เปิดแผนภาคธุรกิจ หนุนปลูกกาแฟอย่างยั่งยืน ดัน "ตลาดกาแฟสำเร็จรูปไทย" โต

ค้นพบและเรียนรู้ทุกแง่มุมของความเป็นไทย ที่จุฬาฯ

ขั้นตอนแรกของการเพาะเนื้อสัตว์คือการคัดเลือกเซลล์จากสัตว์ ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วมักจะใช้วิธีตัดชิ้นเนื้อมาจากตัวสัตว์ วิธีนี้ใช้ได้ทั้งกับสัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่และสัตว์ที่ถูกฆ่าแล้ว หรืออีกหนึ่งวิธีที่สามารถทำได้คือการแยกเซลล์ออกจากไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิแล้ว ในขั้นตอนต่อมาเซลล์ที่คัดไว้จะถูกนำไปเพาะด้วยอาหารเลี้ยงเชื้อเพื่อให้เซลล์แบ่งตัวและเพิ่มจำนวน แต่ถ้าหากว่าคุณกำลังจินตนาการภาพว่ามีนักวิทยาศาสตร์กลุ่มหนึ่งนั่งเฝ้าจานเพาะเชื้ออยู่นั้น คุณต้องคิดภาพใหม่ให้ใหญ่กว่านั้น แคแพลนแนะนำว่า “ให้ลองนึกถึงภาพอะไรคล้าย ๆ กับกระบวนการผลิตเบียร์ดูครับ เนื้อสัตว์ที่เพาะเลี้ยงจากห้องแล็บ ให้คุณนึกถึงพวกงานที่สเกลงานใหญ่มาก ๆ”

ค้นหานักท่องเที่ยวต่างชาติ พลัดหลงเส้นทางธรรมชาติเขาหงอนนาค

น.สพ.ดร.เจนภพ วางแผนจะเพาะเนื้อเยื่อสัตว์ประเภทอื่นๆ เช่น เนื้อวัว ปลา กุ้ง เป็นต้น

สภาพอากาศวันนี้ "เหนือ-อีสาน-ใต้" ฝนตกหนักบางแห่ง

ทางออกวิกฤตราคาโกโก้ไทย “ศูนย์นวัตกรรมการวิจัยและพัฒนาโกโก้ไทยเพื่อความยั่งยืน จุฬาฯ” เติมหวังให้เกษตรกรและธุรกิจโกโก้ไทย

จากแล็บสู่จาน ไฟเขียวเนื้อสังเคราะห์ รับประทานได้แล้วที่สหรัฐฯ

Report this page